ไทยแลนด์ 2.0

หลังจากที่ไทยได้เรื่องออกมาจากยุคการเกษตรเต็มรูปแบบที่ทำให้คนไทยได้ลืมตาอ้าปากรู้เรื่องทำกิจกรรมต่างๆเป็นครั้งแรกเริ่มมีการแลกเปลี่ยนการซื้อขายขนาดเล็กในแบบครัวเรือนชุมชนต่างๆหรือแม้แต่มีการแลกเปลี่ยนสินค้าทางการเกษตร

ซึ่งกันและกันทำให้มีการกระจายสินค้าไปในพื้นที่ต่างๆแต่ในส่วนนั้นก็ยังอยู่ในประเทศไม่มีการแลกเปลี่ยนโดยการทำเป็นกิจกรรมหรือกิจการอย่างเป็นรูปแบบแล้วมีระบบต่างๆค่าขนส่งก็ยังไม่มียังใช้การขนส่งแบบใช้คนขับเกวียนส่งสินค้า ให้กับบุคคลอื่นๆ

แต่หลังจากผ่านช่วงการเกษตรเต็มรูปแบบแล้วประเทศไทยได้มุ่งหน้าเข้าสู่ Thailand 3.0 นั่นก็คือการทำอุตสาหกรรมเบาสิ่งนี้ทำให้ประเทศไทยเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทางด้านเศรษฐกิจมีการเริ่มมีนักธุรกิจขนาดเล็กขนาดกลางขึ้นมาเพื่อทำการเป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนสินค้าจากการเริ่มขายเป็นเกวียนก็เริ่มมีการสะสมสินค้าทางการเกษตร

เพื่อนำขายเป็นรถใหญ่และเริ่มมีการส่งออกแต่ในครั้งนี้ยังมีการขนส่งภายในประเทศอยู่และการขนส่งก็ยังไม่มากเท่าที่ควรใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างมากในธรรมชาติในส่วนนี้หากเราต้องการเจริญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจเราจึงต้องใช้ทรัพยากรมากเพื่อผลักดันให้เศรษฐกิจเดินหน้าอย่างเต็มรูปแบบ

แต่เริ่มมีการผลักดันจากทางภาครัฐให้มีการเกิดธุรกิจขนาดเล็ก ขนาดกลางขึ้นมามากมายในส่วนนี้เริ่มมีการรวมกลุ่มกันทำสินค้าเพื่อส่งออกแต่ในทางนี้ยังใช้หลักการก็คือสินค้าทางการเกษตรนำมารวมกันและแลกเปลี่ยนโดยการขายให้กับต่างประเทศเริ่มมีการทำการตลาดมีการส่งออกซื้อขายต่างๆในประเทศข้างเคียง

หรือรวมถึงประเทศอื่นๆที่ไม่สามารถเพาะปลูกสิ่งของที่มีอยู่ในประเทศไทยได้ครั้งนี้ทำให้ประเทศไทยเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วทางด้านเศรษฐกิจมีการพัฒนานำเข้าอุปกรณ์ต่างๆเพื่อพัฒนาธุรกิจของเราอย่างเต็มรูปแบบทั้งนี้จึงทำให้คนไทยเริ่มมีการศึกษามากยิ่งขึ้น

เมื่อมีคนมีการศึกษามากยิ่งขึ้นส่งผลให้มีการพัฒนาสินค้าของเราไปในทิศทางที่ดีมากยิ่งขึ้นสร้างกิจการใหม่ๆหรือผลิตภัณฑ์ใหม่ๆทำให้เศรษฐกิจพุ่งทะยานอย่างรวดเร็วเติบโตจนเรียกได้ว่ามากที่สุดในประวัติติการของประเทศเรา ในยุคนี้ประเทศไทยมีความคุ้นชินกับการค้าขายสินค้าทางการเกษตรมาก

และมีการนำสินค้าอื่นมาขายให้กับคนในพื้นที่สร้างสิ่งแปลกใหม่ความคิดที่มากยิ่งขึ้นของการทำงานในยุคอุตสาหกรรมเบานี้มีธุรกิจมากมายเกิดขึ้นและมีการเจริญเติบโตของนักธุรกิจใหม่ๆมีความสนับสนุนจากทางภาครัฐให้พัฒนาสินค้ามากยิ่งขึ้นแต่ณจุดนั้นเราส่งออกสินค้าเป็นจำนวนมากเช่นยางพาราส่งไปประเทศญี่ปุ่นแต่เมื่อประเทศญี่ปุ่นรับซื้อไปแล้ว

เขานำไปผลิตเป็นสินค้าใหม่และส่งกลับมาขายที่ไทยเมื่อเทียบอัตราส่วนง่ายๆก็คือเขาซื้อยางพาราเรา 100 ตันเป็นราคา 100000 บาทและเขานำไปผลิตยางรถยนต์แล้วส่งกลับมาขายที่ไทยในราคา 100 เส้นเป็นจำนวนเงิน 100,000 บาทเมื่อเทียบอัตราส่วนแล้วหากเราไม่สามารถผลิตสินค้าได้เองจะทำให้เราสูญเสียการพัฒนาธุรกิจไปได้ 

 

ขอบคุณผู้ให้การสนับสนุนโดย  บาคาร่าทดลอง